บทความวิจัยระดับนานาชาติและอยู่ในฐานข้อมูล ERIC
1. Seechaliao, T. (2014). Lecturers’ Behaviors And Beliefs About The Use Of Social Media In Higher Education: A Study At Mahasarakham University In Thailand. Journal of International Education Research, 10(2), pp.155-160.
2. Seechaliao, T. (2015). Lecturers’ experience of using social media in higher education courses. Contemporary Issues in Education Research, 8(4), pp.215-222.
3. Seechaliao, T. (2017). Instructional Strategies to Support Creativity and Innovation in Education. Journal of Education and Learning, 6(4), pp.201-208.
4. Changpetch, S.; Seechaliao, T. (2020). The Propose of an Instructional Model Based on STEM Education Approach for Enhancing the Information and Communication Technology Skills for Elementary Students in Thailand. International Education Studies, 13(1), pp.69-75.
5. Nilsook, P.; Chatwattana, P. &
Seechaliao, T. (2021) The Project-based Learning Management Process for Vocational and Technical Education.
Higher Education Studies; 11(2), pp. 20-29.
http://doi.org/10.5539/hes.v11n2p20
6. Seechaliao, T & Yurayat, P. (2021) Effects of the Instructional Model Based on Creative Problem-Solving Principles with Social Media to Promote the Creation of Educational Innovation for Pre-service Teachers. Higher Education Studies; 11(3), pp.56-69.
7. Yurayat, P & Seechaliao, T. (2021) Effectiveness of Online Positive Psychology Intervention on Psychological Well-Being Among Undergraduate Students. Journal of Education and Learning; 10 (4), pp. 143-155.
8. Yurayat, P & Seechaliao, T. (2021) Needs Assessment to Develop Online Counseling Program. International Education Studies. 14(7), pp.59-71.
9. Thanaphonganan, N., Yurayat, P. and Seechaliao T. (2022). Health Literacy and Preventive Behaviors of Undergraduate University Students During the COVID-19 Pandemic. Journal of Education and Learning, 11(2), pp.27-34. https://doi.org/10.5539/jel.v11n2p27
10. Yurayat, P & Seechaliao, T. (2022) Undergraduate Students' Attitudes towards Online Counseling since the COVID-19 Pandemic. Higher Education Studies; 12(1), pp.72-83. https://doi.org/10.5539/hes.v12n1p72
บทความวิจัยระดับนานาชาติ
1. Seechaliao, T. and Rungrueng, C. (2016). Using Social Media to Improve Undergraduate’ Mental Health. International Journal of Social Science and Humanity, 6(12), p948-951.
บทความวิจัยระดับชาติในฐานข้อมูล TCI
1. วรรณภา กอกกระโทก, ฐาปนี สีเฉลียว และ รัฐกรณ์ คิดการ. (2557) การเปรียบเทียบผลการเรียนและเจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้โปรแกรมบทเรียนกับการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์2 วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 37 (2) (เมษายน - กรกฎาคม 2557), น.121-130.
2. วิยะดา ดอกจันกลาง, ฐาปนี สีเฉลียว และ รัฐกรณ์ คิดการ. (2557) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหาและเจตคติที่มีต่อประชาคมอาเซียนระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บแบบ Big Six Skills กับการเรียนแบบปกติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8 (2) (พฤษภาคม - สิงหาคม 2557) น.101-109.
3. Khanitta Siriwongkhan, Thapanee Seechaliao. (2018) Developing the Mixed Learning Approach with the Problem-Based Learning Model for Enhancing Mathematics Process Skills of Primary Educational Students . Journal of Education, Mahasarakham University, 12 (4) (October-December 2018), p.225-243.
4. จุฬาวดี มีวันคำ, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณและฐาปนี สีเฉลียว. (2559). โมเดลการสัมมนาบนเว็บตามหลักการสื่อสารแบบลอจิคอลเพื่อเสริมสร้างการคิดและพฤติกรรมการสื่อสารของผู้เรียนในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 5(2), น.155-184.
5. ณพัฐอร โคตพงษ์, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ และ ฐาปนี สีเฉลียว. (2561) การพัฒนาโมเดลฝึกอบรมผสมผสานแบบอิงประสบการณ์เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับครูภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12 (3) (กรกฎาคม - กันยายน 2561), น. 36-49.
6. วิลาวัณย์ พรพัชรพงศ์, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ และ ฐาปนี สีเฉลียว. (2561) ผลการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานที่มีต่อทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษของผู้เรียนปริญญาตรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12 (1) (มกราคม - มีนาคม 2561), น.175-187.
7. สิรัชญา พิมพะลา และฐาปนี สีเฉลียว. (2561) การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ STEM โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 5 (2) (กรกฎาคม – ธันวาคม 2561), น.71-82.
8. กนกรัตน์ บุญไชโย, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ และ ฐาปนี สีเฉลียว. (2562) โมเดลสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ Flipped Classroom ตามหลักการการใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13 (1) (มกราคม - มีนาคม 2562) น. 38-52.
9. ทนันยา คําคุ้ม และ ฐาปนี สีเฉลียว. (2562) รูปแบบการเรียนการสอนเชิงผลิตภาพ เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างนวัตกรรมการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 13 (2) (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562), น.71-86.
10. ธิดาวรรณ โพธิ์ทองและฐาปนี สีเฉลียว. (2562) ผลการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 6(2) (กรกฏาคม - ธันวาคม 2562), น. 176-182.
11. ศิรินภา โพธิ์ทองและฐาปนี สีเฉลียว. (2562) ผลการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียตามแนวคิดการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์เรื่อง การสะกดคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 6(2) (กรกฏาคม - ธันวาคม 2562), น. 183-190.
12. ฐาปนี สีเฉลียว. (2562) แนวทางการออกแบบการเรียนการสอนตามหลักการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ร่วมกับสื่อสังคมเพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาสำหรับนิสิตวิชาชีพครู. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 6(2) (กรกฏาคม - ธันวาคม 2562), น. 133-144.
13. ฐาปนี สีเฉลียว. (2564) รูปแบบการเรียนการสอนตามหลักการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ร่วมกับสื่อสังคมเพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาสำหรับนิสิตวิชาชีครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 32(1) (มกราคม - เมษายน 2564), น. 185-203.
14. ชิตชนก ทิพย์โสดา และ ฐาปนี สีเฉลียว. (2564) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรสายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 4(11) (พฤษภาคม-สิงหาคม 2564) น. 207-222.
15. ภมรพรรณ์ ยุระยาตร์, ฐาปนี สีเฉลียว และกฤตยชญ์ ไชยคำภา. (2565). การศึกษาสุขภาวะทางจิตของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 16(2), น.192-208.
ประชุมวิชาการระดับชาติ
1. ชนิตา รุ่งเรือง, ฐาปนี สีเฉลียว และ ศุภชัย ตู้กลาง (2558) ความตระหนักเกี่ยวกับการรับบริการด้านสุขภาพจิตของนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รายงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6. (น.127 - 136). การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6. วันที่ 28 -29 เมษายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร.
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
1. Seechaliao, T. (2014). The Behaviors of Integrated Social Media Adoption in Higher Education. In M. Searson & M. Ochoa (Eds.),
Proceedings of Society for Information Technology & Teacher Education International Conference 2014 (pp. 999-1005). Chesapeake, VA: AACE. Retrieved July 13, 2014 from
http://www.editlib.org/p/130896.
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ณ เมืองแจคสันเวลล์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
2. Seechaliao, T. (2015). Lecturers’ Attitude towards the Social Media Integration in Courses: A Case Study in Thailand. In D. Rutledge & D. Slykhuis (Eds.),
Proceedings of SITE 2015--Society for Information Technology & Teacher Education International Conference (pp. 1039-1044). Las Vegas, NV, United States: Association for the Advancement of Computing in Education (AACE). Retrieved March 25, 2020 from
https://www.learntechlib.org/primary/p/150133/.
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ณ เมืองลาสเวกัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
3. Seechaliao, T. (2015). Designing Social Media into Higher Education Courses. In WASET team (Eds.), International Journal of Social, Behavioral, Educational, Economic and Management Engineering, 9(9), pp.2682 – 2685. World Academy of Science, Engineering and Technology, Singapore. Retrieved September 19, 2015 from http://waset.org/publications/10002241/designing-social-media-into-higher-education-courses ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ณ ประเทศสิงคโปร์
4. Seechaliao, T. and Rungrueng, C. (2016). Using Social Media to Improve Undergraduate’ Mental Health. . In Alex Maeng, Proceedings of 2016 5th International Conference on Science and Humanity (ICSSH 2016) (pp. 45). Hong Kong, International Economics Development and Research Center (IEDRC). Retrieved April 12, 2016 from http://www.icssh.org/Program-2016.pdf ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ณ เมืองโอซากาประเทศญี่ปุ่น
5. Seechaliao, T. (2017). Learning Environments for Supporting Creativity and Innovation in Education. In Miho Hirata (Eds.), Proceedings of The International Applied Social Sciences Conference (INAS 2017) (pp. 4). Association of Teachers and Researchers in Asia. Retrieved July 12, 2017 from https://atera.org/wp-content/uploads/2017/06/conference-proceedings_inas-1.pdf ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ณ เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
- ไม่มีข้อมูลบทความวิจัย -